ความเป็นมาของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช ๒๕๕o
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ. ๒๕๕o เป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่
๑๘ ซึ่งเป็นกฏหมายสูงสุดของประเทศที่ได้ใช้ระกาศแทนรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ฉบับชั่วคราว)
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พ.ศ.
๒๕๕0 ร่างขึ้นโดรัฐธรรมนูญที่รับการเลือกตั้งจากสมัชชาแห่งชาติไจำนวน
๑๙๘๒ คน ซึ่งสรรหามาจากตัวแทนองค์กร
ของรัฐ เอกชน กลุ่มผู้แทนอาชีพ ผู้แทนวิชาชีพ คณะกรรมการสรรหาของแต่ละจังหวัด ตลอดจนผู้แทนพรรคการเมืองขนาดใหญ่ทุกพรรคได้ร่วมกันเลือกสรรหามาเป็นตัวแทนในการร่างรัฐธรรมนูญ
๒00 คน ซึ่งรัฐธรรมนูญฉบับนี้ได้ผ่านการับฟังความคิดเห็นสาธารณะจากประชาชนทั่วประเทศ
ก่อนแปรญัตติของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญในครั้งสุดท้าย
จากนั้นจึงจะจกจ่ายและเผยแพร่ให้แก่คนทุกคนทั่วประเทศ
โครงสร้างและความสำคัญ
ประเทศไทยเห็นความสำคัญของรัฐธรรมนูญทุกฉบับตลอดเวลาจะเห็นได้จากเมื่อมีการยกเลิกรัฐธรรมนูญที่ใช้อยู่แล้ว
มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่มาใช้บังคับในเวลาต่อมาทันที่ มีรายละเอียดดังนี้
โครงสร้างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550
โครงสร้างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 ประกอบด้วย 15 หมวด 1 บทเฉพาะกาล และ 309 มาตราดังนี้
1. หมวด 3 สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
ส่วนใหญ่คงสิทธิเสรีภาพเช่นเดียวกับที่กำหนดไว้ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักไทย
พุทธศักราช 2540
2. หมวด 7 การมีส่วนร่วมทางการเมืองโดยตรงของประชาชน
3. หมวด 11 องค์กรตามรัฐธรรมนูญ
ได้กำหนดความเป๋นอิสระในการเสนอร่างกฎหมายและความเป็นอิสระทางการเงิน
4. หมวด 12 การตรวดสอบการใช้อำนาจรัฐ
กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการเพื่อตรวดสอบและควบคุมบุคคลผู้ใช้อำนาจรัฐ
5. หมวด 13 จริยธรรมผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองและเจ้าหน้าที่ของรัฐกำหนดหลักเกณฑ์เกี่ยวกับจริยธรรมของนักการเมือง
ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ
ประเทศไทยเห็นความสำคัญของรักฐธรรมนูญทีมีต่อระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยอย่างมาก
โดยมีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับใหม่แทนรัฐธรรมนูญที่ยกเลิกแล้ว ดังนี้
1. ยืนยันความเป็นเอกราชของประเทศไทย
2. รับรองึวามเป็นเอกรัฐของประเทศไทย
3. ยืนยีนว่าประเทศไทยมีการปกครอบแบบระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข
4. คุ้มครองศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิเสรีภาพของชนชาวไทย
5. ให้ความคุ้มครองประชาชนชาวไทย
ไม่ว่าจะมีเหล่ากำเนิดใดเพศใดหรือนับถือศาสนาใดอย่างเสมอภาคกัน
แนวทางการปฏิบัติตนตามรัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550
มีเจตนารณ์ในการปฏิรูปเมืองไทยทั้งระบบให้เป็นการเมืองของพลเมือง
ดังนั้น
ประชาชนจึงต้องปฎิบัติตนให้สอดคล้องกับบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
แนวทางการปัฎิบัติตนตามบทบัญญ้ติของรัฐธรรมนูญ
มีดังนี้
1. เข้าไปมีส่วนร่วมในกระบวนการทางประชาธิปไตยทุกระดับ
ทั้งระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
โดยออกไปเลือกตั้งเพื่อนเลือกคนดี มีความสามารถ
ไปเป็นตัวแทนในการบริหารบ้านเมือง
2. ทำหน้าที่ติดามตรวจสอบการใช้อำนาจของสาชิกสภาผู้แทนราษฏร และ
ผู้บริหารทุกระดับอย่างใกล้ชิด
ประชาชนควรมีส่วนร่วมมือกับคณะกรรมการป้องกันการปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
3. ให้กำลังใจและสนับสนุนนักการเมืองที่ดีและพรรคการเมืองที่ดี
รวมทั้งช่วยกันป้องกันนักการเมืองหรือพรรคการเมืองที่ไม่ดีให้มีโอกาศในการปกครองบ้านเมือง
บทบัญญัติเกี่ยวกับรัฐสภา ฯ
บทบัญญัติเกี่ยวกับรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2540 ได้บัญญัติเกี่ยวกับรัฐสภา
คณะรัฐมนตรี และศาล พอสรุปโดย สังเขป ดังนี้
รัฐสภา
รัฐสภาประกอบด้วยวุฒิสภาและสภาผู้แทนราษฎร
ประธานสภาผู้แทนราษฎร เป็นประธานรัฐสภา ประธานวุฒิสภา เป็นรองประธานสภา
ต้องวางตนเป็นกลางในการปฏิบัติหน้าที่
ร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญจะตราเป็นกฎหมายได้ก็แต่โดยคำแนะนำและยินยอมของรัฐสภา
ให้มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำนวน 500 คน โดยเป็นสมาชิกซึ่งมาจากการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อ ตามมาตรา 99 จำนวน 100 คน อยู่ในตำแหน่งวาระละ 4 ปี
พระมหากษัตริย์ทรงไว้ซึ่งพระราชอำนาจที่จะยุบสภาผู้แทนราษฎรเพื่อให้มีการ
เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ การยุบสภาผู้แทนราษฎรให้กระทำโดยพระราชกฤษฎีกา
ซึ่งต้องกำหนดวันเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรใหม่ภายใน 60 วัน
ประชาชนมีสิทธิเสมอกันในการเป็นผู้ออกเสียงเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภา
มติของสภาให้ถือตามเสียงข้างมากคือ จำนวนเสียงที่ลงมติต้องเกินกึ่งหนึ่งของจำนวนสมาชิกที่ร่วมประชุม
อยู่ในสภานั้น ในแต่ละปีให้มีการเปิดสมัยประชุม 2 ครั้ง ครั้งละ 120 วัน
คณะรัฐมนตรี
พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งคณะรัฐมนตรี
ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรี 1 คน แต่งตั้งจากสมาชิกสภาผู้แทน ราษฎร และรัฐมนตรี 35 คน ซึ่งอาจเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรหรือไม่เป็นก็ได้
ประธานรัฐสภาหรือประธานสภาผู้แทนราษฎร
เป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งนายกรัฐมนตรี
และนายกรัฐมนตรีเป็นผู้ลงนามรับสนองพระบรมราชโองการแต่งตั้งรัฐมนตรีที่ทูล
เกล้าเสนอ รัฐมนตรีต้องไม่เป็นข้าราชการประจำ และหากเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต้องลาออกภายใน 30 วัน ในการบริหารราชการแผ่นดิน
รัฐมนตรีต้องดำเนินการตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ กฎหมาย
และนโยบายที่แถลงไว้ต่อสภา รัฐมนตรีต้องมีคุณสมบัติและไม่มีลักษณะต้องห้าม
ดังต่อไปนี้ มีอายุไม่ต่ำกว่า 35 ปีบริบูรณ์ มีสัญชาติไทยโดยกำเนิด
สำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่าปริญญาตรีหรือเทียบเท่า
ไม่เคยต้องคำพิพากษาให้จำคุกตั้งแต่ 2 ปีขึ้นไป โดยได้พ้นโทษมายังไม่ถึง 5 ปี ก่อนได้รับแต่งตั้ง ไม่เป็นสมาชิกวุฒิสภาหรือเคยเป็นสมาชิกวุฒิสภา
ซึ่งสมาชิกภาพสิ้นสุดมาแล้วยังไม่เกิน 1 ปี นับถึงวัน ที่ได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรี 6. คณะรัฐมนตรีต้องพ้นจากตำแหน่งทั้งคณะ เมื่อ
สภาผู้แทนราษฎรสิ้นอายุเมื่อครบวาระ 4 ปี หรือมีการยุบสภาผู้แทนราษฎร คณะรัฐมนตรีลาออกทั้งคณะ
ความเป็นรัฐมนตรีของนายกรัฐมนตรีสิ้นสุดลง 7. รัฐมนตรีต้องพ้นจากตำแหน่งเฉพาะตัว เมื่อตายหรือลาออก
ขาดคุณสมบัติหรือมีลักษณะต้องห้าม สภาผู้แทนราษฎรลงมติไม่ไว้วางใจเป็นการเฉพาะตัว
ต้องคำพิพากษาให้จำคุกตามความผิดที่กระทำไปในขณะดำรงตำแหน่ง
ศาล
การบัญญัติกฎหมายให้มีผลเป็นการเปลี่ยนแปลงหรือแก้ไขเพิ่มเติมกฎหมายว่าด้วยธรรมนูญศาล
ในคดีอาญา
ผู้ต้องหาหรือจำเลยย่อมมีสิทธิได้รับการสอบสวนหรือการพิจารณาคดีด้วยความรวดเร็วต่อเนื่อง
และเป็นธรรม ศาลรัฐธรรมนูญประกอบด้วยประธานรัฐธรรมนูญ 1 คน ตุลาการศาลรัฐธรรมนูญอื่นอีก 14 คน ซึ่งพระมหา
กษัตริย์ทรงแต่งตั้งตามคำแนะนำของวุฒิสภา ถ้าศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยว่าร่างพระราชบัญญัติหรือร่างพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญนั้นมีข้อความขัด
หรือแย้งต่อรัฐธรรมนูญนี้ ให้ถือเป็นอันตกไป
ศาลยุติธรรมมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีทั้งปวง
เว้นแต่คดีที่รัฐธรรมนูญนี้หรือกฎหมายบัญญัติให้อยู่ในอำนาจ ของศาลอื่น
ศาลยุติธรรมมี 3 ชั้น คือ
ศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ์ และศาลฎีกา
ศาลปกครองมีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดีที่เป็นข้อพิพาทระหว่างหน่วยราชการ
หน่วยราชการของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือราชการส่วนท้องถิ่น
บทบัญญัติเกี่ยวกับพรรคการเมือง
บทบัญญัติเกี่ยวกับพรรคการเมือง การเลือกตั้ง
รัฐบาล และการจัดตั้งรัฐบาล
คือ บทบัญญัติที่เกี่ยวกับพรรคการเมือง การเลือกตั้งรัฐบาล และการจัดตั้งรับบาล
6.1พรรคการเมือง
พรรรคการเมืองจะเป็นสถาบันการเมืองที่มีความสำคัญมากและขาดไม่ได้ในกระบวนการปกครอง เพราะการปกครองที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองและมีอิธิพลเหนือรับบาล
6.1.1ความหมายของพรรคการเมือง
หมายถึงที่มีความคิดและผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่คล้ายคลึงกัน ต้องการนำความคิดมาใช้เป็นหลักในการบริหารประเทศ เผยแพร่เจตนารมณ์และส่งสมาชิกเข้าสมัครรับเลือกตั้ง หวังที่จะเป็นรัฐบาล
6.1.2บทบาทและหน้าที่ของพรรคการเมือง
6.1.2.1วางนโยบายในการแก้ไขปัญหาของประเทศ และแถลงนโยบายเหล่านั้นให้ประชาชนทราบ ว่าควรจะสนับสนุนพรรคนั้นๆหรือไม่
6.1.2.2พิจารณาคัดเลือกผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ทำหน้าที่คัดเลือกบุคคลเข้าไปทำหน้าที่ทางการเมืองในคณะรัฐบาล
6.1.2.3การดำเนินการหาเสียงเลือกตั้ง พยายเข้าถึงประชาชน รับฟังความคิดเห็นของคนกลุ่มต่างในสังคม
6.1.2.4นำนโยบายของพรรคที่ได้แถลงแก่ประชาชน ไปปฏิบัติอย่างจริงจัง เพราะนโยบายของพรรคเป็นสิ่งสิ่งที่ทำให้ประชาชนสนับสนุนพรรคด้วยการเลือกตัวแทนที่จะมาจากพรรคนั้นๆ การนำนโยบายของพรรคไปปฏิบัติอย่างจริงจัง เพื่อให้เกิดประโยชนืต่อประชาชนและประเทศชาติ
6.1.2.5ให้การศึกษาและอบรมความรู้ทางการเมือง การจัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่ความรุ้ การจัดอบรม ต้องพยายามที่จะเป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างประชาชนกับรัฐบาล
6.1.2.6หน้าที่ในการควบคุมการทำงานของรัฐบาล รัฐบาลก็ต้องดำเนินงานตามนโยบาลที่แถลงไว้หรือไม่
6.2การเลือกตั้งของไทย
6.2.1ความสำคัญของการเลือกตั้ง
6.2.1.1ประชาชนเลือกตัวแทนไปทำหน้าที่แทนตนในรัฐสภาและคณะรัฐบาล
6.2.1.2วิธีการเปลี่ยนอำนาจทางการเมืองการปกครองที่ทันสมัยและเป็นไปอย่างสันติ
6.2.1.3ป้องกันการปฏิวัติรัฐประหาร
6.2.1.4เป็นวิธีหมุนเวียนอำนาจ
6.2.1.5เป็นวิธีการสร้างความถูกต้องและชอบธรรมในการใช้อำนาจทางการเมืองให้กับบุคคล
6.2.2หลักเกณฑ์การเลือกตั้ง
6.2.2.1หลักอิสระแห่งการเลือกตัง้ หมายถึงการให้อิสระในการการออกเสียง
6.2.2.2หลักการเลือกตั้งตั้งแต่ตามกำหนดเวลา หมายถึง กำหนดเวลาระยะที่แน่นนอน
6.2.2.3หลักการเลือกตั้งอย่างบริสุทธิ์ยุติธรรม หมายถึง การเลือกตั้งเป็นไปตามกฎหมาย
6.2.2.4หลักการใช้สิทธิในการเลือกตั้งอย่างเสมอภาค หมายถึง การให้สิทธิแก่ประชาชน
6.2.2.5หลักการออกเสียงโดยทั่วไป หมายถึง การเปิดโอกาสให้มีการออกเสียงเลือกตั้งอย่างทั่วถึง
6.2.2.6หลักการลงคะแนนลับ หมายถึงการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชนถือเป็นสิทธิของผู้เลือกตั้งโดยเด็ดขาด
6.2.3การรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของการเลือกตั้ง
6.2.3.1การใช้อิทธิพลจากทางราชการ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อฝ่าตน
6.2.3.2การทำลายคู่แข่ง เช่ฆ่าหัวคะแนนของฝ่ายตรงข้าม
6.2.3.3การใช้เงินเพื่อซื้อคะแนนเสียง
6.2.4การสร้างสำนึกการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
** การรักษาความศักดิ์สิทธิิ์ของการเลือกตั้ง และการเลือกตั้งเป็นไปอย่างถูกต้อง ไม่มีสิ่งเลวร้ายดังที่กล่าวไปข้างต้น
6.2.5การเลือกตั้ง
6.3รัฐบาล และการจัดตั้งรัฐบาล หมายถึง คณะบุคคลและองค์กรซึ่งมีการบริหารประเทศ
6.3.1หน้าที่ของรัฐบาล หมายความว่าเป็นผู้กำหนดนโยบายว่าจะทำอะไรให้เป็นประโยชน์แก่ประชาชน
6.3.2ประสิทธิภาพในการบริหารงานของรัฐบาล
6.3.2.1ความสามรถในการตอบสนอง
6.3.2.2ความสามารถในการรับผิดชอบต่อหน้าที่
6.3.2.3ความสามารถในการติดตามและควบคุม
6.3.2.4ความสามารถในการประสานงาน
6.3.3ความรับผิดชอบของรัฐบาลต่อประชาชน
6.3.3.1รัฐบาลแถลงผลงานต่อสภาผู้แทนราษฎร
6.3.3.2ประชาชนตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐบาลได้
6.3.3.3ประชาชนอาจจะตรวจสอบหรือแสดงปฏิกิริยาต่อหน้าที่ของรัฐบาล
6.4ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับประชาชน
6.4.1ประชาชนเลือกผู้แทนราษฎร
6.4.2การจัดตั้งรัฐบาย
6.4.3กำหนดนโยบาย
6.4.4การนำนโยบาย
6.4.5ประชาชนสามารถตรวจสอบการทำงาน
6.5การจัดตั้งรัฐบาล
เนื่องจากรัฐบาลมีอำนาจกว้างขวางมาก รัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทยจึงให้ใช้วิธีการตั้งรัฐบาลอย่างเปิดเผยและรับรู้ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกัดในพรรคการเมืองต่างๆ
คือ บทบัญญัติที่เกี่ยวกับพรรคการเมือง การเลือกตั้งรัฐบาล และการจัดตั้งรับบาล
6.1พรรคการเมือง
พรรรคการเมืองจะเป็นสถาบันการเมืองที่มีความสำคัญมากและขาดไม่ได้ในกระบวนการปกครอง เพราะการปกครองที่ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองและมีอิธิพลเหนือรับบาล
6.1.1ความหมายของพรรคการเมือง
หมายถึงที่มีความคิดและผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองที่คล้ายคลึงกัน ต้องการนำความคิดมาใช้เป็นหลักในการบริหารประเทศ เผยแพร่เจตนารมณ์และส่งสมาชิกเข้าสมัครรับเลือกตั้ง หวังที่จะเป็นรัฐบาล
6.1.2บทบาทและหน้าที่ของพรรคการเมือง
6.1.2.1วางนโยบายในการแก้ไขปัญหาของประเทศ และแถลงนโยบายเหล่านั้นให้ประชาชนทราบ ว่าควรจะสนับสนุนพรรคนั้นๆหรือไม่
6.1.2.2พิจารณาคัดเลือกผู้ที่มีคุณสมบัติเหมาะสม ทำหน้าที่คัดเลือกบุคคลเข้าไปทำหน้าที่ทางการเมืองในคณะรัฐบาล
6.1.2.3การดำเนินการหาเสียงเลือกตั้ง พยายเข้าถึงประชาชน รับฟังความคิดเห็นของคนกลุ่มต่างในสังคม
6.1.2.4นำนโยบายของพรรคที่ได้แถลงแก่ประชาชน ไปปฏิบัติอย่างจริงจัง เพราะนโยบายของพรรคเป็นสิ่งสิ่งที่ทำให้ประชาชนสนับสนุนพรรคด้วยการเลือกตัวแทนที่จะมาจากพรรคนั้นๆ การนำนโยบายของพรรคไปปฏิบัติอย่างจริงจัง เพื่อให้เกิดประโยชนืต่อประชาชนและประเทศชาติ
6.1.2.5ให้การศึกษาและอบรมความรู้ทางการเมือง การจัดพิมพ์เอกสารเผยแพร่ความรุ้ การจัดอบรม ต้องพยายามที่จะเป็นตัวกลางเชื่อมระหว่างประชาชนกับรัฐบาล
6.1.2.6หน้าที่ในการควบคุมการทำงานของรัฐบาล รัฐบาลก็ต้องดำเนินงานตามนโยบาลที่แถลงไว้หรือไม่
6.2การเลือกตั้งของไทย
6.2.1ความสำคัญของการเลือกตั้ง
6.2.1.1ประชาชนเลือกตัวแทนไปทำหน้าที่แทนตนในรัฐสภาและคณะรัฐบาล
6.2.1.2วิธีการเปลี่ยนอำนาจทางการเมืองการปกครองที่ทันสมัยและเป็นไปอย่างสันติ
6.2.1.3ป้องกันการปฏิวัติรัฐประหาร
6.2.1.4เป็นวิธีหมุนเวียนอำนาจ
6.2.1.5เป็นวิธีการสร้างความถูกต้องและชอบธรรมในการใช้อำนาจทางการเมืองให้กับบุคคล
6.2.2หลักเกณฑ์การเลือกตั้ง
6.2.2.1หลักอิสระแห่งการเลือกตัง้ หมายถึงการให้อิสระในการการออกเสียง
6.2.2.2หลักการเลือกตั้งตั้งแต่ตามกำหนดเวลา หมายถึง กำหนดเวลาระยะที่แน่นนอน
6.2.2.3หลักการเลือกตั้งอย่างบริสุทธิ์ยุติธรรม หมายถึง การเลือกตั้งเป็นไปตามกฎหมาย
6.2.2.4หลักการใช้สิทธิในการเลือกตั้งอย่างเสมอภาค หมายถึง การให้สิทธิแก่ประชาชน
6.2.2.5หลักการออกเสียงโดยทั่วไป หมายถึง การเปิดโอกาสให้มีการออกเสียงเลือกตั้งอย่างทั่วถึง
6.2.2.6หลักการลงคะแนนลับ หมายถึงการออกเสียงเลือกตั้งของประชาชนถือเป็นสิทธิของผู้เลือกตั้งโดยเด็ดขาด
6.2.3การรักษาความศักดิ์สิทธิ์ของการเลือกตั้ง
6.2.3.1การใช้อิทธิพลจากทางราชการ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อฝ่าตน
6.2.3.2การทำลายคู่แข่ง เช่ฆ่าหัวคะแนนของฝ่ายตรงข้าม
6.2.3.3การใช้เงินเพื่อซื้อคะแนนเสียง
6.2.4การสร้างสำนึกการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน
** การรักษาความศักดิ์สิทธิิ์ของการเลือกตั้ง และการเลือกตั้งเป็นไปอย่างถูกต้อง ไม่มีสิ่งเลวร้ายดังที่กล่าวไปข้างต้น
6.2.5การเลือกตั้ง
6.3รัฐบาล และการจัดตั้งรัฐบาล หมายถึง คณะบุคคลและองค์กรซึ่งมีการบริหารประเทศ
6.3.1หน้าที่ของรัฐบาล หมายความว่าเป็นผู้กำหนดนโยบายว่าจะทำอะไรให้เป็นประโยชน์แก่ประชาชน
6.3.2ประสิทธิภาพในการบริหารงานของรัฐบาล
6.3.2.1ความสามรถในการตอบสนอง
6.3.2.2ความสามารถในการรับผิดชอบต่อหน้าที่
6.3.2.3ความสามารถในการติดตามและควบคุม
6.3.2.4ความสามารถในการประสานงาน
6.3.3ความรับผิดชอบของรัฐบาลต่อประชาชน
6.3.3.1รัฐบาลแถลงผลงานต่อสภาผู้แทนราษฎร
6.3.3.2ประชาชนตรวจสอบการปฏิบัติหน้าที่ของรัฐบาลได้
6.3.3.3ประชาชนอาจจะตรวจสอบหรือแสดงปฏิกิริยาต่อหน้าที่ของรัฐบาล
6.4ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลกับประชาชน
6.4.1ประชาชนเลือกผู้แทนราษฎร
6.4.2การจัดตั้งรัฐบาย
6.4.3กำหนดนโยบาย
6.4.4การนำนโยบาย
6.4.5ประชาชนสามารถตรวจสอบการทำงาน
6.5การจัดตั้งรัฐบาล
เนื่องจากรัฐบาลมีอำนาจกว้างขวางมาก รัฐธรรมนูญแห่งอาณาจักรไทยจึงให้ใช้วิธีการตั้งรัฐบาลอย่างเปิดเผยและรับรู้ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที่สังกัดในพรรคการเมืองต่างๆ
การตรวจสอบการใช้อำนาจ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรประเทศไทย
พ.ศ. 2550 ได้ส่งเสริมและสนับสนุนให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐอย่างเป็นทางการและเป็นรูปธรรมมากขึ้นในรูปแบบรัฐธรรมนูญฉบับอื่นๆ
ที่ผ่านมา โดยเฉพาะในหมวด 3 ว่าด้วยเรื่องสิทธิและเสรีภาพในประชาชน
(3) บัญญัติไว้ว่า “ รัฐต้องดำเนินแนวทางหรือนโยบายเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมของประชน
ในการตรวจสอบการใช้อำนาจ” และหมวด
12 ว่าด้วยเรื่องการตรวจสอบการใช้อำนาจของรัฐ
รวมทั้งยังได้กำหนดหลักเกณฑ์
และวิธีการตรวจสอบอำนาจของรัฐขึ้นมา เพื่อให้ผู้ใช้อำนาจรัฐให้ปฏิบัติหน้าที่โดยสุจริตและเที่ยงธรรม......
จัดทำโดย
น.ส.
พัชรพร คล้ายบรรจง เลขที่ 31 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่4/6
น.ส.
รวิวรรณ ปานเพชร เลขที่ 32 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6
น.ส.
วิชิตา พุ่มไสว เลขที่ 33 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6
น.ส. รพีพรรณ กลัดวงษ์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6
น.ส.
สิรามล เจริญรัตน์ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6
น.ส. อรุณณี ทาทม เลขที่ 36 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/6
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น